ศูนย์การศึกษาต่อเนื่องทางเภสัชศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ได้รับการรับรองจากสภาเภสัชกรรมให้เป็นผู้จัดการศึกษาต่อเนื่องแก่ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม เพื่อส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาการประกอบวิชาชัพเภสัชกรรม

รายชื่องานประชุมวิชาการ ประจำปีงบประมาณ 2567

จัดโดย คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Product screenshot

สำหรับผู้รับบริการ

คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเเชียงใหม่

ประชุม อบรม สัมมนา

ประชุมวิชาการ 60 ปี คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง Future of Pharmacy: Emerging Trends in Drugs and Biologics

คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับ สมาคมศิษย์เก่าคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ขอเชิญเข้าร่วม ประชุมวิชาการ 60 ปี คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Future of Pharmacy: Emerging Trends in Drugs and Biologicsวันศุกร์ที่ 15 พฤศจิกายน 2567 เวลา 08.30 - 16.30 น.ณ ห้องแกรนด์วิวฮอล 2 – 3 โรงแรมเชียงใหม่แกรนด์วิว จ.เชียงใหม่พิกัดโรงแรม: https://maps.app.goo.gl/LY49NS4zCfgBXQcM8------------------------------------------------ เปิดรับสมัครเภสัชกรที่สนใจ ในหน่วยงานของรัฐ และเอกชน คณาจารย์จากคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยต่าง ๆ ทั่วประเทศ จำนวน 200 คน ** ไม่จัดเก็บค่าลงทะเบียน **------------------------------------------------ จำนวนหน่วยกิตการศึกษาต่อเนื่อง 3.75 CPEรหัสกิจกรรม : 1003-2-000-031-11-2567เงื่อนไขการรับหน่วยกิตการศึกษาต่อเนื่องทางเภสัชศาสตร์ (CPE-credit)เภสัชกรผู้ประสงค์รับหน่วยกิต CPE จะต้องลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมและเข้าฟังการบรรยายทุกหัวข้อตามกำหนดการ------------------------------------------------ แบบฟอร์มลงทะเบียน >>>> coming soonตรวจสอบรายชื่อผู้เข้าร่วมประชุม  >>>> coming soon (เมื่อกรอกแบบฟอร์มลงทะเบียนแล้ว เจ้าหน้าที่จะทำการยืนยันการสมัครและประกาศรายชื่อของท่านภายใน 1-2 วันทำการ) ------------------------------------------------ เอกสารที่เกี่ยวข้องสามารถ Download ตามเอกสารแนบท้ายนี้ ------------------------------------------------ สอบถามรายละเอียดการประชุมเพิ่มเติมได้ที่ หน่วยบริการวิชาการ คณะเภสัชศาสตร์ มช. โทร. 053-944374 / Email: cpe.pharmcmu@gmail.com / Line ID : @wal3469f

โพสโดย หน่วยบริการวิชาการและการศึกษาต่อเนื่อง

บทความวิชาการ CPE

ข้อพิจารณาในการใช้แนวทางการศึกษาชีวสมมูลและคำแนะนำในการศึกษาชีวสมมูลเฉพาะผลิตภัณฑ์ยา

ขอเชิญชวนอ่านบทความการศึกษาต่อเนื่องทางเภสัชศาสตร์ เรื่อง ข้อพิจารณาในการใช้แนวทางการศึกษาชีวสมมูลและคำแนะนำในการศึกษาชีวสมมูลเฉพาะผลิตภัณฑ์ยา (Considerations in Using Bioequivalence Guidelines and Product Specific Bioequivalence Guidance)เขียนโดย รศ.ดร.ภก.ทรงวุฒิ ยศวิมลวัฒน์ผศ.ดร.ภญ.วรรณกมล สอนสิงห์คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่รหัสกิจกรรม 1003-1-000-009-12-2566จำนวนหน่วยกิตการศึกษาต่อเนื่อง 3 CPE อ่านและทำแบบทดสอบเพื่อเก็บ CPE ที่ https://cmu.to/htxETติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม:หน่วยบริการวิชาการ คณะเภสัชศาสตร์ มช.โทร. 053-944374Email: cpe.pharmcmu@gmail.comLine ID: @wal3469f

โพสโดย หน่วยบริการวิชาการและการศึกษาต่อเนื่อง

การพัฒนายาชีววัตถุคล้ายคลึง: ถึงเวลาเปลี่ยนกระบวนทัศน์ (Biosimilars development: Time for a paradigm shift)

ขอเชิญชวนอ่านบทความการศึกษาต่อเนื่องทางเภสัชศาสตร์เรื่อง การพัฒนายาชีววัตถุคล้ายคลึง: ถึงเวลาเปลี่ยนกระบวนทัศน์ (Biosimilars development: Time for a paradigm shift)เขียนโดย ผศ.ดร.ภญ.สุนทรา เอกอนันต์กุลคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่รหัสกิจกรรม 1003-1-000-008-11-2566จำนวนหน่วยกิตการศึกษาต่อเนื่อง 2.5 CPE อ่านและทำแบบทดสอบเพื่อเก็บ CPE ที่ https://cmu.to/Nfcv8ติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม:หน่วยบริการวิชาการ คณะเภสัชศาสตร์ มช.โทร. 053-944374Email: cpe.pharmcmu@gmail.comLine ID: @wal3469f

โพสโดย หน่วยบริการวิชาการและการศึกษาต่อเนื่อง

รู้จักยากลุ่มใหม่สำหรับการรักษามะเร็ง: Immune checkpoint inhibitors (ICIs)

ขอเชิญชวนอ่านบทความการศึกษาต่อเนื่องทางเภสัชศาสตร์ เรื่อง รู้จักยากลุ่มใหม่สำหรับการรักษามะเร็ง: Immune checkpoint inhibitors (ICIs)จำนวนหน่วยกิตการศึกษาต่อเนื่อง 2.5 CPE เขียนโดย ผศ.ดร.ภญ.บัณฑิตาภรณ์ ศิริจันทร์ชื่นคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อ่านและทำแบบทดสอบเพื่อเก็บ CPE ที่ https://cmu.to/3mSXVติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม:หน่วยบริการวิชาการ คณะเภสัชศาสตร์ มช.โทร. 053-944374Email: cpe.pharmcmu@gmail.comLine ID: @wal3469f

โพสโดย หน่วยบริการวิชาการและการศึกษาต่อเนื่อง

ตัวส่งสัญญาณ (trigger tools) เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ต่อไตจากการใช้ยาทีโนโฟเวียร์ไดโซโพรซิลฟูมาเรตในผู้ติดเชื้อเอชไอวีหรือโรคเอดส์

ขอเชิญชวนอ่านบทความการศึกษาต่อเนื่องทางเภสัชศาสตร์ เรื่อง ตัวส่งสัญญาณ (trigger tools) เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ต่อไตจากการใช้ยาทีโนโฟเวียร์ไดโซโพรซิลฟูมาเรตในผู้ติดเชื้อเอชไอวีหรือโรคเอดส์จำนวนหน่วยกิตการศึกษาต่อเนื่อง 2.5 CPE เขียนโดย ภญ.อุดมลักษณ์ จันทร์วงศ์ โรงพยาบาลสันป่าตอง และ ผศ.ดร.ภญ.นันทวรรณ กิติกรรณากรณ์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อ่านและทำแบบทดสอบเพื่อเก็บ CPE ที่ https://cmu.to/rAktZติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม:หน่วยบริการวิชาการ คณะเภสัชศาสตร์ มช.โทร. 053-944374Email: cpe.pharmcmu@gmail.comLine ID: @wal3469f

โพสโดย หน่วยบริการวิชาการและการศึกษาต่อเนื่อง

ดูทั้งหมด

E-learning/MOOC

E-learning/MOOC

การออกแบบแผนการทดลอง: แนวคิดพื้นฐานและการประยุกต์ใช้

ขอเชิญชวนเภสัชกรเข้าเรียนหลักสูตรออนไลน์ E-learningเรื่อง การออกแบบแผนการทดลอง: แนวคิดพื้นฐานและการประยุกต์ใช้ (Design of Experiment: Basic Concepts and Applications)สอนโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภญ.วรพรรณ เมตะนันท์อาจารย์ประจำภาควิชาวิทยาศาสตร์เภสัชกรรมคณะเภสัชศาสตร์ มช. จำนวนหน่วยกิตการศึกษาต่อเนื่อง 1.25 CPEเรียนได้ทุกที่ ทุกเวลา ตลอดชีพ ไม่เสียค่าใช้จ่าย มีประกาศนียบัตรหลังเรียนจบหลักสูตร เก็บ CPE ได้ด้วยเข้าสู่หลักสูตร คลิก https://mooc.cmu.ac.th/.../ad5caabb-1256-4b72-9be9...เภสัชกรที่เข้าเรียนหลักสูตรและผ่านการทำแบบทดสอบ สามารถนำใบประกาศนียบัตร ส่งมายัง Email: cpe.pharmcmu@gmail.com พร้อมแจ้งชื่อ-นามสกุล และเลขใบประกอบวิชาชีพ เพื่อขอรับหน่วยกิตการศึกษาต่อเนื่อง ติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม:หน่วยบริการวิชาการ คณะเภสัชศาสตร์ มช.โทร. 053-944374Email: cpe.pharmcmu@gmail.comLine ID: @wal3469f

โพสโดย หน่วยบริการวิชาการและการศึกษาต่อเนื่อง

E-learning/MOOC

การเตรียมและขึ้นทะเบียนผลิตภัณฑ์กัมมี่

ขอเชิญชวนประชาชนทั่วไปที่สนใจ เข้าเรียนหลักสูตรออนไลน์ E-learning #FREE การเตรียมและขึ้นทะเบียนผลิตภัณฑ์กัมมี่ (Preparation and registration of gummy products) สอนโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์.ดร.ภก. ปรัชญา ทิพย์ดวงตาอาจารย์ประจำภาควิชาวิทยาศาสตร์เภสัชกรรม เรียนได้ทุกที่ ทุกเวลา ตลอดชีพ มีประกาศนียบัตรหลังเรียนจบหลักสูตรเข้าสู่หลักสูตร คลิก  https://mooc.cmu.ac.th/.../1C9FF68E-ABCF-48F2-9D69... ติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม:หน่วยบริการวิชาการ คณะเภสัชศาสตร์ มช.โทร. 053-944374Website: https://cpe.pharmacy.cmu.ac.th/Email: cpe.pharmcmu@gmail.comLine ID: @wal3469f

โพสโดย หน่วยบริการวิชาการและการศึกษาต่อเนื่อง

E-learning/MOOC

Content Uniformity และตารางคำนวณสำเร็จรูปด้วยโปรแกรม Excel

#เรียนออนไลน์ฟรี   สำหรับเสัชกรและนักศึกษาคณะเภสัชศาสตร์  เรื่อง Content Uniformity และตารางคำนวณสำเร็จรูปด้วยโปรแกรม Excelสอนโดย รองศาสตราจารย์ ดร.ภก.ภูริวัฒน์ ลี้สวัสดิ์ อาจารย์ประจำภาควิชาวิทยาศาสตร์เภสัชกรรมเภสัชกรสามารถเก็บสะสมหน่วยกิตการศึกษาต่อเนื่องได้ 0.75 CPE คลิก  https://mooc.cmu.ac.th/.../7F4E18E0-EB7E-4FC2-A9EC... รับประกาศนียบัตรหลังเรียนจบหลักสูตรเภสัชกรที่เข้าเรียนหลักสูตรและผ่านการทำแบบทดสอบ สามารถนำใบประกาศนียบัตร ส่งมายัง Email: cpe.pharmcmu@gmail.com พร้อมแจ้งชื่อ-นามสกุล และเลขใบประกอบวิชาชีพ เพื่อขอรับหน่วยกิตการศึกษาต่อเนื่อง ติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม:หน่วยบริการวิชาการ คณะเภสัชศาสตร์ มช.โทร. 053-944374Website: https://cpe.pharmacy.cmu.ac.th/Email: cpe.pharmcmu@gmail.comLine ID: @wal3469f

โพสโดย หน่วยบริการวิชาการและการศึกษาต่อเนื่อง

หลักสูตรระยะสั้นการบริบาลทางเภสัชกรรม

การบริบาลทางเภสัชกรรม สาขาโรคไต

หลักสูตรการบริบาลทางเภสัชกรรม สาขาโรคไต เป็นหลักสูตรภาคปฏิบัติ มีระยะเวลาการอบรมรวมทั้งสิ้น 16 สัปดาห์ โดยมีเนื้อหาทางทฤษฎีสอดแทรกตลอดระยะของการฝึกปฏิบัติงาน โดยผู้ที่เข้ารับการฝึกอบรมจะได้มีโอกาสปฏิบัติงานร่วมกับสหสาขาวิชาชีพที่มีความชำนาญในการบริบาลเภสัชกรรมในผู้ป่วยโรคไต และผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดทดแทนไตศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมที่ https://www.lifelong.cmu.ac.th/career-skills/detail/000503ช่องทางในการติดต่อสอบถาม นายชลธาร อูปอินทร์ (เจ้าหน้าที่ภาควิชาบริบาลเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์) chonlathan.a@cmu.ac.th 053-941515

โพสโดย หน่วยบริการวิชาการและการศึกษาต่อเนื่อง

การบริหารเภสัชกิจ การออกแบบระบบยาและสุขภาพที่ซับซ้อน (ปี 2567) รุ่นที่ 1

คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับ วิทยาลัยการบริหารเภสัชกิจแห่งประเทศไทยขอเชิญชวนเภสัชกรผู้สนใจสมัครเข้าร่วม หลักสูตรฝึกอบรมระยะสั้นทางการบริหารเภสัชกิจ การออกแบบระบบยาและสุขภาพที่ซับซ้อน(Short Course Training Program in Pharmacy Administration on Systems Design for Health and Pharmaceutical Systems Complexity) รุ่นที่ 1 ปี 2567 ชื่อประกาศนียบัตรชื่อภาษาไทย: ประกาศนียบัตรวิชาชีพเภสัชกรรม (การออกแบบระบบยาและสุขภาพที่ซับซ้อน)ชื่อภาษาอังกฤษ:Certificate in Pharmacy Administration (Systems Design for Health and Pharmaceutical Systems Complexity)ระยะเวลาอบรม 18 สัปดาห์ ระหว่างวันที่ 27 มกราคม 2567 – 19 พฤษภาคม 2567ฝึกอบรมในรูปแบบ online และหน่วยงานต้นสังกัดของผู้เข้าร่วมหลักสูตรคุณสมบัติของผู้เข้ารับการอบรม1. เป็นผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม2. เป็นเภสัชกรที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานรัฐ หรือเอกชน3. มีประสบการณ์ทำงานไม่น้อยกว่า 1 ปี4. มีความพร้อมในการพัฒนาตนเองเพื่อนำความรู้และทักษะไปขับเคลื่อนเพื่อพัฒนางานที่เภสัชกรรับผิดชอบ5. สามารถเข้ารับการอบรมและทำงานส่งได้ตลอดหลักสูตรจำนวนรับสมัคร 5 คนปิดรับสมัครและชำระเงิน วันที่ 15 มกราคม 2567ค่าลงทะเบียน อัตรา 25,500 บาท*** ในกรณีที่มีผู้สมัครเกินกว่าจำนวนที่รองรับได้ ทางผู้จัดงานขอสงวนสิทธิ์การเข้าอบรมให้แก่ผู้ที่ชำระค่าลงทะเบียนก่อน ***ขั้นตอนการสมัคร1. กรอกแบบฟอร์มการสมัครที่ https://cmu.to/3Rfwu2. เมื่อท่านกรอกใบสมัครและกดส่งใบสมัครแล้ว คณะฯ จะพิจารณาใบสมัครของท่าน3. เมื่อคณะฯ พิจารณาใบสมัครแล้วเสร็จ จะแจ้งผลการสมัครให้ท่านทราบ และจะจัดส่งหนังสือตอบรับการสมัครเข้าร่วมอบรมไปยังหน่วยงานต้นสังกัดของท่าน 4. เมื่อท่านทราบผลการสมัครและหน่วยงานต้นสังกัดได้รับหนังสือแล้ว ให้ท่านชำระค่าลงทะเบียนตามรายละเอียดการชำระเงินที่ปรากฏในหนังสือ5. คณะฯ จะจัดส่งใบเสร็จรับเงินให้แก่ท่านทาง ปณท.หมายเหตุ: ผู้เข้าร่วมอบรมหลักสูตรระยะสั้ย สามารถเก็บสะสมหน่วยกิตการศึกษาต่อเนื่องได้------------------------------------------------ สอบถามรายละเอียดการประชุมเพิ่มเติมได้ที่ หน่วยบริการวิชาการ คณะเภสัชศาสตร์ มช. โทร. 053-944374 / Email: cpe.pharmcmu@gmail.com / Line ID : @wal3469f

โพสโดย หน่วยบริการวิชาการและการศึกษาต่อเนื่อง

การบริบาลทางเภสัชกรรม สาขาอายุรศาสตร์ (ปี 2567) รุ่นที่ 2

การบริบาลทางเภสัชกรรม สาขาอายุรศาสตร์ เป็นหลักสูตรภาคปฏิบัติ 16 สัปดาห์ โดยมีเนื้อหาทางทฤษฎีสอดแทรกตลอดระยะของการฝึกปฏิบัติงาน โดยเภสัชกรที่เข้ารับการฝึกจะได้มีโอกาสปฏิบัติงานร่วมกับสหสาขาวิชาชีพที่มีความชำนาญในการบริบาลเภสัชกรรมในผู้ป่วยในศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมที่ https://www.lifelong.cmu.ac.th/career-skills/detail/000445ช่องทางในการติดต่อสอบถามนายชลธาร อูปอินทร์ (เจ้าหน้าที่ภาควิชาบริบาลเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์)chonlathan.a@cmu.ac.th053-941515

โพสโดย หน่วยบริการวิชาการและการศึกษาต่อเนื่อง

การบริบาลทางเภสัชกรรม สาขาผู้ป่วยมะเร็ง (ปี 2567) รุ่นที่ 3

หลักสูตรการฝึกอบรมระยะสั้นการบริบาลทางเภสัชกรรม (ผู้ป่วยมะเร็ง) เป็นหลักสูตรภาคปฏิบัติ 16 สัปดาห์ โดยมีเนื้อหาทางทฤษฎีสอดแทรกตลอดระยะของการฝึกปฏิบัติงาน ในการฝึกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรมในผู้ป่วยโรคมะเร็ง และกำหนดให้เภสัชกรฝึกปฏิบัติงาน ณ หอผู้ป่วยเคมีบำบัด และคลินิกผู้ป่วยนอกสำหรับผู้ป่วยมะเร็ง โดยเภสัชกรจะได้มีโอกาสปฏิบัติงานร่วมกับสหสาขาวิชาชีพที่มีความชำนาญในการบริบาลผู้ป่วยศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมที่ https://www.lifelong.cmu.ac.th/career-skills/detail/000446ช่องทางในการติดต่อสอบถามนายชลธาร อูปอินทร์ (เจ้าหน้าที่ภาควิชาบริบาลเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์)chonlathan.a@cmu.ac.th053-941515

โพสโดย หน่วยบริการวิชาการและการศึกษาต่อเนื่อง

ดูทั้งหมด

หลักสูตรระยะสั้นสาขาวิทยาศาสตร์เภสัชกรรม

เภสัชกรรมสมุนไพร (Herbal Pharmacy)

หลักสูตรที่มุ่งเน้นการพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบที่มีคุณภาพ โดยผ่านกระบวนการวิจัยและพัฒนา โดยผู้ที่ผ่านการอบรมจะได้เรียนรู้และเข้าใจแนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร ตั้งแต่การควบคุมคุณภาพของวัตถุดิบ สารสกัดและผลิตภัณฑ์ที่พัฒนาขึ้น  การแยกเตรียมสารสกัด การทดสอบประสิทธิผลของสารสกัด การออกแบบรูปแบบและการตั้งตำรับของผลิตภัณฑ์สมุนไพรด้วยเทคโนโลยีทางเภสัชกรรมที่ทันสมัยและเหมาะสมต่อการนำส่งสารสำคัญ การทดสอบความคงตัว และการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ทั้งนี้เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ต้นแบบที่มีคุณภาพและมีประสิทธิผล ที่สามารถนำไปสู่การขออนุญาตจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาและขยายการผลิตในระดับอุตสาหกรรมได้ต่อไปหลักสูตรนี้เป็นหลักสูตรของวิทยาลัยเภสัชกรรมสมุนไพร (วภส.) สภาเภสัชกรรม มีระยะเวลาการอบรมรวม 510 ชั่วโมง (18 สัปดาห์) โดยแบ่งเป็นการอบรมภาคทฤษฎีจำนวน 30 ชั่วโมง (2 สัปดาห์) และภาคปฏิบัติ 480 ชั่วโมง (16 สัปดาห์) ช่วงวัน-เวลาของการรับสมัครเปิดรับสมัคร วันที่ 11 มีนาคม 2567 เวลา 08.30 น.ปิดรับสมัคร วันที่ 19 เมษายน 2567 เวลา 16.30 น.ช่วงวัน-เวลาของการชำระค่าธรรมเนียมในการอบรมตั้งแต่วันที่ทำการสมัคร ถึง วันที่ 19 เมษายน 2567  เวลา 16.30 น.ช่องทางในการติดต่อสอบถามชื่อ-สกุล นางสาวอรดา บุญพงษ์ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้ประสานงานหลักสูตรเบอร์โทร 053-944374อีเมล orada.b@cmu.ac.th

โพสโดย หน่วยบริการวิชาการและการศึกษาต่อเนื่อง

วิทยาศาสตร์ขั้นสูงในการดูแลผิวพรรณและสุขภาวะผิว รุ่นที่ 2

หลักสูตรนี้มุ่งเน้นส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการนำองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี งานวิจัย นวัตกรรมมาประยุกต์ใช้เพื่อดูแลสุขภาพผิว เสริมสร้างสุขภาพผิวและแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับผิวในเชิงลึกในระดับชีวโมเลกุล และสามารถพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางและเวชสำอางที่มีประสิทธิภาพ ปลอดภัยหลักสูตรอบรมนี้แบ่งเนื้อหาการเรียนรู้ออกเป็น 2 กระบวนวิชา จำนวน 3 หน่วยกิต จำนวนชั่วโมงการเรียนรู้รวมบรรยาย 45 ชั่วโมง - กระบวนวิชาที่ 1 วิทยาศาสตร์ขั้นสูงในการดูแลผิวพรรณ (2 หน่วยกิต)  ผู้เรียนสามารถเทียบโอนหน่วยกิตกระบวนวิชา 463704 – วิทยาศาสตร์ขั้นสูงในการดูแลผิวพรรณ (Advanced Skin Care Science)   หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์เครื่องสำอาง- กระบวนวิชาที่ 2 องค์ประกอบในผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางและเวชสำอาง (1 หน่วยกิต)            ผู้เรียนสามารถเทียบโอนหน่วยกิตกระบวนวิชา 463705 – องค์ประกอบในผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางและเวชสำอาง (Cosmetic and Cosmeceutical Product Compositions) หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์เครื่องสำอางเมื่อผ่านหลักสูตรอบรม ผู้เรียนจะสามารถของรับรองสมรรถนะและ/หรือสามารถเก็บสะสมหน่วยกิตเพื่อใช้ประกอบการเรียนในอนาคตได้  โดยผู้เรียนจะต้องสอบผ่านทุกเกณฑ์ขั้นต่ำ (เกรด C) ของทุกกระบวนวิชาเพื่อที่จะได้รับสมรรรถนะช่องทางในการติดต่อสอบถาม คุณกรรณิการ์ พงศ์นฤมิตรkannikar.p@cmu.ac.th053-944380

โพสโดย หน่วยบริการวิชาการและการศึกษาต่อเนื่อง

วิทยาศาสตร์แห่งความงามและผลิตภัณฑ์สปา รุ่นที่ 2

หลักสูตรนี้เป็นการมุ่งเน้นส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้พื้นฐานของการแต่งหน้าและผลิตภัณฑ์สปา ได้แก่ ประวัติความเป็นมาของการแต่งหน้า ทฤษฎีสี การเล่นสีสัน และการประยุกต์ใช้ในการแต่งหน้า รวมทั้งโครงสร้างของใบหน้าและดวงตาที่เกี่ยวข้องกับการแต่งหน้าเพื่อความงาม การเลือกใช้ผลิตภัณฑ์บำรุงผิว และอุปกรณ์การแต่งหน้าและเทคนิคสำคัญสำหรับการแต่งหน้าขั้นพื้นฐาน รวมถึงหลักการของสุคนธบำบัด น้ำมันหอมระเหยที่ใช้ในสุคนธบำบัด กลไกการออกฤทธิ์ของน้ำมันหอมระเหย ความปลอดภัยในการใช้น้ำมันหอมระเหย วิธีการใช้ผลิตภัณฑ์สุคนธบำบัด การพัฒนาผลิตภัณฑ์สุคนธบำบัด สปาและผลิตภัณฑ์สปา เทคโนโลยีใหม่ในการใช้น้ำมันหอมระเหยหลักสูตรอบรมนี้แบ่งเนื้อหาการเรียนรู้ออกเป็น 2 กระบวนวิชา จำนวน 6 หน่วยกิต จำนวนชั่วโมง การเรียนรู้รวม 150 ชั่วโมง (บรรยาย 60 ชั่วโมง ปฏิบัติการ 90 ชั่วโมง) ▪ กระบวนวิชาที่ 1 เครื่องสำอางสำหรับตกแต่งและเทคนิคการแต่งหน้า (3 หน่วยกิต) ผู้เรียนสามารถเทียบโอนหน่วยกิตกระบวนวิชา 463736 เครื่องสำอางสำหรับตกแต่งและเทคนิคการ แต่งหน้า (Decorative Cosmetics and Facial Makeup Techniques) หลักสูตรวิทยาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์เครื่องสำอาง ▪ กระบวนวิชาที่ 2 สุคนธบำบัดและผลิตภัณฑ์สปา (3 หน่วยกิต) ผู้เรียนสามารถเทียบโอนหน่วยกิตกระบวนวิชา 463733 สุคนธบำบัดและผลิตภัณฑ์สปา (Aromatherapy and Spa Product)หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ เครื่องสำอาง             เมื่อผ่านหลักสูตรอบรม ผู้เรียนจะสามารถของรับรองสมรรถนะและ/หรือสามารถเก็บสะสมหน่วยกิตเพื่อใช้ประกอบการเรียนในอนาคตได้  โดยผู้เรียนจะต้องสอบผ่านทุกเกณฑ์ขั้นต่ำ (เกรด C) ของทุกกระบวนวิชาเพื่อที่จะได้รับสมรรรถนะช่องทางในการติดต่อสอบถาม คุณกรรณิการ์ พงศ์นฤมิตรkannikar.p@cmu.ac.th053-944380

โพสโดย หน่วยบริการวิชาการและการศึกษาต่อเนื่อง

เทคโนโลยีขั้นสูงเกี่ยวกับเครื่องสำอางและงานขึ้นทะเบียนที่เกี่ยวข้อง รุ่นที่ 2

หลักสูตรนี้ เป็นการสร้างความรู้ความเข้าใจ โดยมุ่งเน้นและส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ การพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางและเวชสำอางด้วยขั้นตอนและวิธีการที่ถูกต้อง เป็นไปตามข้อกำหนด/มาตรฐาน ซี่งส่งผลต่อคุณภาพของผลิตภัณฑ์ สามารถพัฒนาตำรับและการผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง/เวชสำอางรูปแบบต่าง ๆ มีทักษะกระบวนการเพื่อศึกษาก่อนตั้งตำรับ มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบพื้นฐานในตำรับ การทดสอบทางกายภาพ เคมีกายภาพ และความคงสภาพของผลิตภัณฑ์ เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีประสิทธิภาพและปลอดภัยแก่ผู้บริโภค นอกจากนี้ผู้เรียนจะสามารถดำเนินการพัฒนาและผลิตผลิตภัณฑ์ภายใต้จรรยาบรรณและจริยธรรมการประกอบธุรกิจเครื่องสำอาง พระราชบัญญัติเครื่องสำอางและพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค มาตรฐานเครื่องสำอางระหว่างประเทศ รวมถึงกฎหมายและระเบียบอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานด้านเครื่องสำอาง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการประกันคุณภาพการผลิต และการขึ้นทะเบียนผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางอย่างถูกต้อง ซึ่งองค์ความรู้ดังกล่าวกล่าวข้างต้นจะช่วยส่งเสริมให้สามารถเป็นผู้ผลิต พัฒนา และเป็นผู้ประกอบการที่มีศักยภาพหลักสูตรอบรมนี้แบ่งเนื้อหาการเรียนรู้ออกเป็น 3 กระบวนวิชา จำนวน 7 หน่วยกิต จำนวนชั่วโมงการเรียนรู้รวม 159 ชั่วโมง (บรรยาย 75 ชั่วโมง ปฏิบัติการ  84 ชั่วโมง) - กระบวนวิชาที่ 1 ประมวลวิชาการพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางและเวชสำอาง (3 หน่วยกิต)       ผู้เรียนสามารถเทียบโอนหน่วยกิตกระบวนวิชา 463701 – การพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางและ     เวชสำอาง (Cosmetic and Cosmeceutical Products Development) หลักสูตรวิทยาศาสตร   มหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์เครื่องสำอาง- กระบวนวิชาที่ 2 การควบคุมคุณภาพ และการประเมินผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางและเวชสำอาง         (3 หน่วยกิต) ผู้เรียนสามารถเทียบโอนหน่วยกิตกระบวนวิชา 463702 – การควบคุมคุณภาพ และการประเมิน          ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางและเวชสำอาง (Quality Control and Evaluation of Cosmetic and          Cosmeceutical  Products) หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์          เครื่องสำอาง- กระบวนวิชาที่ 3 กฎหมาย การขึ้นทะเบียน และการประกันคุณภาพเครื่องสำอาง (1 หน่วยกิต) ผู้เรียนสามารถเทียบโอนหน่วยกิตกระบวนวิชา 463706– กฎหมาย การขึ้นทะเบียน และการ         ประกันคุณภาพเครื่องสำอาง (Laws, Registration and Quality Assurance in Cosmetics)          หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์เครื่องสำอาง             เมื่อผ่านหลักสูตรอบรม ผู้เรียนจะสามารถของรับรองสมรรถนะและ/หรือสามารถเก็บสะสมหน่วยกิตเพื่อใช้ประกอบการเรียนในอนาคตได้  โดยผู้เรียนจะต้องสอบผ่านทุกเกณฑ์ขั้นต่ำ (เกรด C) ของทุกกระบวนวิชาเพื่อที่จะได้รับสมรรรถนะช่องทางในการติดต่อสอบถาม คุณกรรณิการ์ พงศ์นฤมิตรkannikar.p@cmu.ac.th053-944380

โพสโดย หน่วยบริการวิชาการและการศึกษาต่อเนื่อง

ดูทั้งหมด

บริการวิชาการแก่ชุมชน

คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ข่าวสาร/ประมวลภาพกิจกรรม

ดูทั้งหมด